
การล่มสลายของอาณาจักรเขมรโบราณ ตามทัศนะของ จิตร ภูมิศักดิ์ในแนวคิด มาร์กซิสม์
THE END OF ANCIENT ANGKOR IN JIT PUMISAK'S MAXISM MAXISM VIEWPOINT
โดย กรรณิการ์ สุธีรัตนาภิรมย์ / By Kannika Suteerattanapirom.
Damrong Journal, Vol 7, No.1, 2008
บทคัดย่อ:
นักโบราณคดี พยายามอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีตโดยใช้หลักฐานวัตถุทางวัฒนธรรมผ่านกระบวนทางศึกษาทางวิทยาศาสตร์มานาน อย่างไรก็ตามบางครั้งความพยายามในการแปลความหลักฐานทางโบราณคดีและพยายามแวดล้อมทั้งปวง รวมทั้งการพยายามหาคำอธิบายโดยการวิเคราะห์ผ่านเครื่องมือวิทยาศาสตร์ อาจไม่เพียงพอต่อความเข้าใจในกระบวนทางสังคมวัฒนธรรมอันละเอียดอ่อนและซับซ้อนของมนุษย์ในอดีต และทำให้สามารถเข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้นเหล่านั้นได้อย่างมีชีวิตชีวา
ในบทความนี้ผู้เขียนได้ยกตัวอย่างการใช้ทฤษฎีทางโบราณคดีในการอธิบายการล่มสลายของอาณาจักรเขมรโบราณในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ตามทัศนะคติของจิตร ภูมิศักดิ์ ซึ่งมีมุมมองแบบแนวคิดมาร์กซิสม์ อันทำให้เกิดมุมมองใหม่ที่ทำให้หารอธิบายและตีความเหตุการ์ณและสังคมในอดีตได้อย่างน่าสนใจ
ABSTRACT:
Archeologist have tied to describe human behavior using truly scientific method. However,that attempt seem not enough to provide better understanding of human society and culture in the past. Archeological theory is employed as and additional way in explaining and interpreting human behavior in the past.
This paper was aimed to explain how an archeology theory ,namely Marxism, was used to interpret the course of collapse of the ancient Cambodia kingdom of Angkor during the reign of King Jayawaman VII using Jit Pmsak's work as case study.