
พัฒนาการแนวคิด และวิธีการอนุรักษ์โบราณสถานในประเทศไทย
THE DEVELOPMENT OF CONCEPT AND PRACTICE OF ANCIENT MONUMENTS CONSERVATION IN THAILAND
โดย กรรณิการ์ สุธีรัตนาภิรมณ์ / By Kannika Suteerattanapirom
Damrong Journal, Vol 5, No.2, 2006
บทคัดย่อ:
พัฒนาการแนวคิดและวิธีการอนุรักษ์โบราณสถานในประเทศไทย แสดงให้เห็นภาพลำดับการอนุรักษณ์โบราสถานในประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ตลอดจนสภาพทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อแนวคิดและวิธีการอนุรักษณ์โบราณสถานนั้นๆ ซึ่งแนวคิดการอนุรักษณ์ของไทยในอดีต ก่อนรัชกาลที่ 4 เป็นการอนุรักษณ์ตามคติความเชื่อทางศาสนาและถูกใช้เป็นเครื่องมือของระบบการปกครองของกษัตรย์เป็นสำคัญ ในขณะเดียวกันการอนุรักษณ์ในเวลาหลังรัชกาลที่ 4 ยังคงเป็นเครื่องมอสำคัญของผู้ปกครองในการสร้างเอกลักษณ์ สร้างวัฒนธรรมของชาติ และเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจเป็นสำคัญ สำหรับวิธีการอนึรักษณ์นั้นพบว่าอิทธิพลแนวคิดจากตะวันตกมีอิทธิพลต่อวิธีการอนุรักษณ์ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 6 เป็นต้นไป และใช้วิธีการปฏิบัติตามหลักสากล โดยยังไม่มีแนวคิดและวิธีการอนุรักษณ์ที่เหมาะสมกับสภาพสังคมไทยจนกระทั่งถึงปัจจุบัน
ABSTRACT:
This research was a study of the concepts and practices of ancient monument conservation in Thailand from the past to present, including explanation of the social and cultural aspects influencing such practices. The concepts of Thai conservation before the reign of King Rama IV relied on the faith of Buddhism and the reverence of the kings. After that, monument conservation was an instrument to create the identity and culture of the nation, as well as a benefit for tourism. The practice of Thai conservation shows the influence of the west for from the reign of King Rama VI. There have not been any concepts or practices that suitable in Thai society until now.