
สัญลักษณ์ของเพศสภาวะและการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม : มองหาผู้หญิงในอุดมคติจากนิทานเขมร เรื่อง
GENDER AND SYMBOLISM AND CULTURE CHANGE : VIEWING THE VIRTUOS WOMAN IN THE KHMER STORY ‘MEA YOENG’
โดย ปรานี วงษ์เทศ / By Pranee Wongthes
Damrong Journal, Vol 4, No.2, 2005
บทคัดย่อ:
บทความเรื่องนี้แปลและเก็บความจาก “Gender Symbolism and Culture Change :Viewing the Virtuos Woman in the Khmer story ‘Mea Yoeng’ ” ซึ่งตีพิมพ์ใน Cambodia Culture since 1975 : homeland and exile.1994 Judy Ledgerwood ผู้เขียน ได้ใช้นิทานเขมรเรื่อง เมียเยิง มาเป็นกรณีศึกษาเพื่ออธิบายให้เห็นถึงความคิดทางเพศสภาพของชาวเขมร ในฐานะที่เป็นทั้งระบบสัญลักษณ์ แบบแผนทางสังคม และกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของชาวเขมร ซึ่งภาพพจน์ของผู้หญิงในอุดมคติได้ถูกปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับบริบททางสังคมของเขมรที่กำลังฟื้นฟูประเทศหลังสงครามกลางเมืองในช่วงปีค.ศ.1970
ABSTRACT:
This article is translatedfrom Judy Ledgerwood’s article “Gender Symbolism and Culture Change :Viewing the Virtuos Woman in the Khmer story ‘Mea Yoeng’ ” found in the book Cambodia Culture since 1975 : homeland and exile.1994 (Ledgerwood : Cornell University ,1994. ) Judy Ledgerwood uses various version of Khmer story “Mea Yoeng” to illuminate changing Khmer concepts of gender roles as a system of symbols, social order and the process of culture change.