
สุวรรณเศียรอ้อมล้อมต่อมคำและท้าวหัวความเหมือนที่แตกต่าง
SUWANNASIAN, OMLOMTOMKHAM, AND THAOHUA : SIMILAR BUT NOT THE SAME
โดย พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร / By Phanthip Thiranet
Damrong Journal, Vol 6, No.1, 2007
บทคัดย่อ:
วรรณกรรมเรื่อสุวรรณเศียรอ้อมล้อมต่อมคำแบะท้าวหัว ปรากฏอยู่ในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคอีสานตามลำดับ ทั้ง 3เรื่องมีที่มาจากสุวรรณสิรสาชาดก ในปัญญาสชาดก โครงเรื่องและแก่นเรื่องของวรรณกรรมล้วนตรงกัน แต่มีการปรับเปลี่ยนจากชาดกดังกล่าวในรายละเอียดปลีกย่อย เช่น ตัวละคร ฉาก และเหตุการณ์บางตอนอย่างซึ่งน่าจะเป็นไปด้วยเหตุผลในด้านความน่าเชื่อถือ ความสอดคล้องกับคำสอนหรือคำนิยมท้องถิ่น รวมทั้งเพื่อความสนุกสนานน
วรรณกรรมทั้ง 3 เรื่องต่างมีบทบาทต่อสังคมท้องถิ่น ทั้งในแง่ของความบันเทิงและการควบคุมทางสังคมด้วยหลักธรรมคำสอนที่สอดแทรกอยู่ ท้าวหัวเป็นเรื่องที่มีบทบาทมากที่สุดเนื่องจากถูกนำมาใช้ในมหรสพค่อนข้างแพร่หลาย รองลงมาคืออ้อมล้อมต่อมคำ ซึ่งพระสงฆ์มีการนำมาเทศน์ในโอกาสต่างๆ ส่วนเรื่องสุวรรณเศียรน่าจะถูกใช้ในการอ่านสู่กันฟังในชุมชน สำหรับสภาพสังคมที่ปรากฏในวรรณกรรมมีทั้งส่วนที่เหมือนและแตกต่างออกไป นอกจากนี้ ยังมีรายละเอียดซึ่งสอดคล้องกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์อีกด้วย เช่น การค้าสำเภาทางภาคกลางในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ที่ปรากฏในเรื่องสุวรรณเศียร เป็นต้น การค้าสำเภาทางภาคกลางในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ที่ปรากฏในเรื่องสุวรรณเศียร เป็นต้น
ABSTRACT:
Suwannasian, Omlomtomkham, and Thaohua are found in central region, northern region, and northeastern region, respectively. All of these literatures originate from SuwannasirasaJataka. Thus, these literatures are similar in term of plot and theme with some variations in smaller details such as characters, settings, and situations. These details were changed in order to make the literatures more suitable for regions.
These 3 literatures play important roles as a form of entertainment and a mean to convey social code of conduct to community members. Thaohua is the most notable case because of it popularity. Omlomtomkham is less popular but it is used frequently in Buddhist sermon. Suwannasian is also likely to be recited among people. In case of social aspects which are presents in literatures, these aspects can be similar or different depend on the characteristics of each communities and historical facts such as the overseas trade in early Rattanakosin era, mentions in Suwannasian.