
คนกับพื้นที่ในประเพณีกินข้าวใหม่ปากะญอ บ้านทีจอชี อ.อุ้มผาง จ.ตาก
PEOPLE AND SPACE IN “KIN-KHAO MAI” THE INTATION OF RICE FEAST OF KAREN, TEECHOCHE TAK PROVINCE
โดย ปรารถนา จันทรุพันธุ์ / By PRADHANA CHANDHARUPHAN
Damrong Journal, Vol 5, No.1, 2006
บทคัดย่อ:
ประเพณีกินข้าวใหม่ปะกาญอ บ้านทีจอชี อ.อุ้มผาง จ.ตาก ทำให้เห็นความลื่นไหลของความหมายจากพื้นที่ จากพื้นที่ธรรมดาของสนามเด็กเล่นไปสู่พื้อที่ศักดิ์สิทธิ์ของพิธีกรรม แล้วกลับสู่พื้นที่ของการละเล่นอีกครั้ง กระบวนการดังกล่าวก่อให้เกิดพลังชุมชนขึ้นโดยไม่รู้ตัว นอกจากจะเป็นพื้นที่ศูนย์กลางของการรวมตัวคนในชุมชนทุกเพศวัย ตอกย้ำอัตลักษณ์ความเป็นปากะญอ ผ่านพิธีกรรมของชุมชน ประเพณีนี้ยังละลายช่องว่างระหว่างผู้นำอย่างผู้ใหญ่บ้านิกับลูกบ้านให้อยู่ในระดับของ “ชาวปะกาญอบ้านทีจอชี” ด้วยกัน นอกจากนี้กิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ของการเผาข้าวหลามยังเรียกร้องพลังความร่วมมือจากทุกฝ่ายซึ่งก่อให้เกิด จิตสาธารณะหรือความเสียสละเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ระหว่างกัน โดยมรแนวคิดสิทธิของเจ้าของวัฒนธรรมเป็นเครื่องมือในการธำรงรักษาความเป็นปากะญอของชาวบ้านให้ดำรงอยู่อย่างเข้มแข็ง
ABSTRACT:
“Kin-Khao Mai” of the “Intation of Rice Feast” of Pakakayo-Karen,Teechoche, Umpang District, Tak Province, illustrates how a common children’s playground can be transformed from a secular into a sacred space. Later it changes back to a playground. This process automatically brings about a stronger community and Pakakayo identity are strengthened by the ritual, which reduces the gap between the leader and people in the community. Moreover, many performances in the “Khao Lam Cookking Space” require the participation of every person in the community, resulting in unified public minds and communal sharing. The strength and sense of ownership of this ritual is indispensable in the preservation of the Pakakayo-Karen culture.