
แนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงในงานโบราณคดีชุมชน
SUFFICIENCY ECONOMY IN COMMUNITY ARCHAEOLOGY
โดย สายัณต์ ไพรชาญจิตร์ / By Sayan Praicharnjit
Damrong Journal, Vol 6, No.1, 2007
บทคัดย่อ:
แนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง เป็นทฤษฎีการพัฒนาที่พัฒนาขึ้นบนฐานประสบการณของประเทศไทย ปัจจุบันองค์การสหประชาชาติยอมรับเอาไปเผยแพร่ให้กับประเทศต่างๆทั่วโลกนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาวัฒนธรรมชุมชนล่มสลาย
แนวคิดการพัฒนาโบราณคดีชุมชน เป็นการทดลองนำเอาแนวความคิดด้านการจัดการทัพยากรวัฒนธรรม โบราณคดี การพัฒนาชุมชนผสมผสานกันเพื่อสร้างความสามารถในการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมของตนเองซึ่งทำให้ชาวบ้านเป็นกลไกกลางในการดำเนินงานโดยมีแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักธรรมกำกับ เชื่อว่าแนวทางการทำงานโบราณคดีชุมชนจะเป็นทางเลือกหนึ่งที่วงการโบราณคดีทั่วโลกนำไปใช้ในการทำงานเพื่อแก้ปัญหาการแย่งชิงทรัพยากรและความเห็นแก่ตัวเห็นแก่ได้ส่วนตนของผู้คนในสังคมต่างๆตั้งแต่ทศวรรษนี้เป็นต้นไป
ABSTRACT:
His Royal Initiative on Sufficiency Economy as development theory based on Thai experiences is adopted by the United Nations for application in the countries that confronting to de-communitization problems.
"Community Archeology" is an approach for the enhancement of community ability on cultural resource management steering by His Majesty King Bhumibol's Sufficiency Economy.
At present, archaeologist try to do participatory archaeology with other groups. Community Archaeology is proposed to be an alternative approach for archaeological work,in order to subdue self-interest since this decade onward.