

- การศึกษาลักษณะทางด้านศิลาวรรณาของหม้อสามขาในประเทศไทย
- การประเมินส่วนสูงคนไทยในปัจจุบัน จากความยาวของกระดูกยาว
- การจัดการพื้นที่อยู่อาศัยสมัยก่อนประวัติศาสตร์ : การศึกษาหลักฐานทางโบราณคดี ประเภทกระดูกสัตว์
- การศึกษาเส้นทางข้ามคาบสมุทรภาคใต้ตอนบน
- การศึกษาเทคโนโลยีการผลิตกุณฑีด้วยวิธีศิลาวรรณนา
- การตีความใหม่เรื่องขอบเขตแนวชายฝั่งทะเลโบราณสมัยทวารวดีบนที่ราบภาคกลางตอนล่าง
- กัลปนา: ความสืบเนื่องและการเปลี่ยนแปลง แนวคิดของคนในชุมชนล้านนาต่อการกัลปนาคน
- การเปรียบเทียบคำเรียกเครือญาติในภาษาไทยและภาษาจีนแต้จิ๋ว
- การพิมพ์ ของร้อน และครู : ข้อสังคมบางประการว่าด้วยการฝึกหัดและถ่ายทอดวิชาช่างในสังคมไทย
- กระบวนการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์จิตรกรรมฝาผนัง วัดโพธารามและวัดป่าเรไรย์ จังหวัดมหาสารคาม
- การวิเคราะห์ภาพนาฏดุริยางค์ศิลป์ในงานพุทธศิลปะในประเทศไทย
- การจัดการแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตภายในบ้านเขาทุเรียน ตำบลเขาพระ อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก
- การจัดการพิพิธภัณฑ์เชิงโหยหาอดีต : กรณีศึกษาบ้านพิพิธภัณฑ์
- การกำหนดอายุสมัยเมืองโบราณเวียงแหง อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ จากหลักฐานทางโบราณคด
- การประกาศคติปัญจอันตรธาน และสถาปนาพระบรมธาตุ ที่เมืองนครชุมของสมเด็จพระมหาธรรมราชาลิไท ใน พ.ศ. 1900
- การจัดการทรัพยากรทางโบราณคดีของชุมชนทุ่งม่าน ตำบลเวียงกาหลง อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย
- การศึกษาความสามารถทางภาษาในการเว้นวรรค จากการเขียนภาษาไทยของนักเรียนไทยและญี่ปุ่น
- การประเมินคุณค่ากวีนิพนธ์สันสกฤต เรื่องกุมารสัมภวะของกาลิทาส
- การศึกษาเปรียบเทียบข้อผิดของนักเรียนไทยในการสร้างคำประสมภาษาอังกฤษ
- การนับถือบูชาต้นไม้ใหญ่และต้นโพธิ์ในสมัยทวารวดี
- การศึกษาพัฒนาการศิลปะพื้นเมืองเพชรบุรี : กรณีศึกษาประวัติและผลงานของ นายพิน อินฟ้าแสง
- การละเล่นขอทานกระยาสารทกับวิถีชีวิตวัฒนธรรมของชาวคลองบ้านไทร แขวงบางระมาด เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร
- การใช้ภาษาสุภาพในการขอร้อง : การสื่อสารในกลุ่ม นายทหารสัญญาบัตร
- การศึกษาเพื่อกำหนดอัตลักษณ์พิพิธภัณฑ์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น
- กู-มึง : วัยรุ่นไทยกับความเป็นอิสระจากกฎระเบียบในการใช้ภาษา
- การจัดการคลังโบราณวัตถุทางโบราณคดี พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ กรุงเทพมหานคร
- การประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุสมัยทวารวดี
- การศึกษาเมืองโบราณหริภุญไชย จากหลักฐานโบราณคดี
- การสร้างสรรค์วรรณคดีตามทรรศนะของ นักวรรณคดีสันสกฤต
- การล่มสลายของอาณาจักรเขมรโบราณ ตามทัศนะของ จิตร ภูมิศักดิ์ในแนวคิด มาร์กซิสม์
- การวิเคราะห์เพื่อการปรับปรุงข้อสอบวิชา วิวัฒนาการมนุษย์
- การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาพจิตรกรรมฝาผนังของไทย เรื่องพระอดีตพระพุทธเจ้ากับวรรณกรรมพุทธศาสนา
- การแพร่หลายของการัณฑมกุฏ ในศิลปะอินเดียและเอเชียอาคเนย์
- การค้นหาวัดบูรพาราม วัดทักษิณารามและวัดลังการาม ที่กล่าวถึงในศิลาจารึกวัดอโสการาม
- การวิจัยในชั้นเรียน : กรณีศึกษารายวิชาประวัติศาสตร์
- การศึกษาแก้วสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายที่พบในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
- การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจ้วงกับไทยในมิติทางประเพณีวัฒนธรรมและความเชื่อ
- การตรวจชำระต้นฉบับตัวเขียนเบื้องต้น
- การประดับภาพกองทัพมารที่ฐานของพระพุทธรูปในศิลปะอยุธยา
- การจัดทำหัวเรื่องและคำบรรยายสำหรับนิทรรศการ Titles and Labels
- การตรวจชำระคัมภีร์ปัญจคติทีปนี
- การขุดค้นที่แหล่งโบราณคดีหนองราชวัตร ต.หนองราชวัตร อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี
- การวิเคราะห์ภาพสลักวิธุรบัณฑิต บนเสมาทวารวดีในภาคอีสาน
- การศึกษาประติมากรรมพระอุมาสมัยอิทธิพลศิลปะเขมรในประเทศไทย
- การศึกษารูปแบบประติมากรรมเหวัชระที่ปรากฏในศิลปะเขมร
- การแผ่ขยายของมายาคติว่าด้วยความเป็น ‘ชนเผ่า’ : กรณีชาวนาคา
- กลวิธีทางความสุภาพและระบบความสุภาพของตำรวจท่องเที่ยวไทย
- กบฏบวรเดชในนวนิยายอิงประวัติศาสตร์
- การจัดการป่าต้นน้ำภูน้ำดั้นเพื่อความยั่งยืนของฐานทรัพยากรอาหารของชุมชน
- การกลายเสียงสระของคำยืมภาษาบาลีและสันสกฤตในภาษาไทย
- กลวิธีทางภาษาที่ใช้ในการตอบปฏิเสธการขอร้องกับปัจจัยเรื่อง “พรรคพวก” ในสังคมไทย
- การใช้ภาษาอังกฤษและการแสดงอัตลักษณ์ในสถานะเฟสบุ๊คในประเทศไทย
- การศึกษาและวิเคราะห์วิสัชนาของพระภิกษุที่ปรากฏในพระราชปุจฉาแห่งสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
- การวิเคราะห์ช่องว่างทางงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชนในประเทศไทย
- การศึกษาวิเคราะห์สมุนไพรในคัมภีร์พรหมปโรหิต
- การก่อเกิดแนวคิดการจำลองแบบพระธาตุพนม
- การประกอบสร้างภาพตัวตนของผู้หญิงอาข่าที่แต่งงานข้ามวัฒนธรรม
- การสืบทอดและการดัดแปลงเรื่องพระอภัยมณีของสุนทรภู่เป็นบทละครรำของกรมศิลปากร