

- ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมระหว่างรัฐโอริสสากับประเทศไทย: ศึกษาจากหลักฐานทางโบราณคดี
- คติการสร้างพระพุทธรูปไม้ล้านนา
- ความหมายของ พระพุทธรูปศิลปะอู่ทองซึ่งพบที่สุโขทัย
- คันดินคูเมืองอู่ทอง ข้อมูลใหม่จากการขุดค้นทางโบราณคดี
- คติ ความเปลี่ยนแปลง นัยยะแฝง : พระพุทธรูปในระเบียงคดวัดเบญจมบพิตรฯ
- คำพูดทำลายล้างมวลชนของแบลร์ : การวิเคราะห์วัจนลีลา
- ความเป็นอื่นของพื้นที่สาธารณะ ในวิถีชาวบ้านชุมชนทะเลน้อย
- คำศัพท์ที่เกิดจากความหมายเปรียบเทียบ
- คำ “เมตเตยยะ” ที่เก่าที่สุดที่ได้พบจากหลักฐานประเภทจารึกในประเทศไทย
- คนข้ามเพศ : ตัวตน วัฒนธรรมย่อย และพื้นที่ทางสังคม
- คำเรียกญาติพื้นฐานของผู้พูดภาษาส่วย (กูย - กวย) ที่มีอายุต่างกัน
- ความสำคัญของบทการแสดงประกอบแสงและเสียง
- ความเหมือนในความต่าง : "นิราศพระธาตุเมืองย่างกุ้ง" และ "นิราศต้นทางฝรั่งเศส"
- ความเชื่อพื้นบ้านในสังคมสมัยใหม่ : กรณีศึกษาความเชื่อของไทยโซ่งในจังหวัดนครปฐม
- ค่านิยมที่สะท้อนในมุขตลกในการ์ตูนช่องของไทย
- คติรูปพระสูรยะบนธรรมจักรในศิลปะทวารวดี
- ความเปลี่ยนแปลงทางรูปแบบและแนวคิดของอนุสาวรีย์ไทยที่อุทิศให้วีรชน
- คุณสมบัติของคำเรียกสีในภาษาเขมร
- คนกับพื้นที่ในประเพณีกินข้าวใหม่ปากะญอ บ้านทีจอชี อ.อุ้มผาง จ.ตาก
- คำเรียกชื่อธาตุเคมี (ធាតុគីមី) ในภาษาเขมร
- ความสัมพันธ์ไทย – อินเดีย : ศึกษาจากถ้ำสถานระยะแรกในประเทศไทย
- คัมภีร์รำผีของชาวมอญบางขันหมากลพบุรี
- ความเชื่อของกวีในการสดุดีกษัตริย์ที่สะท้อนจาก “กวิสมยะ”: ศึกษาจากจารึกภาษาสันสกฤตที่พบในประเทศไทย
- โครงสร้างเนื้อหาในประกาศการพระราชพิธีสมัยอยุธยาและสมัยรัตนโกสินทร์